วันอังคารที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2559

โครงการอาหารและโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย

โครงการอาหารและโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย


วันอาทิตย์ที่ 20 พฤศจิกายน พ..2559  เวลา 09.00 – 12.00 
ณ ศูนย์การเรียนชุมชนจันทรเกษม  กศน.แขวงจันทรเกษม เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

หลักการและเหตุผล
ตามที่รศ.นพ.สังคม จงพิพัฒน์วณิชย์  หัวหน้าหน่วยโภชนาการ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ท่านว่าโภชนาการที่เหมาะสมเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยเสริมพัฒนาการของลูกโดยเฉพาะเด็กวัยอนุบาลคือ1-6 ปี ซึ่งมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วทั้งร่างกายและสมอง โดยเฉพาะพัฒนาการทางสมองในช่วง 3 ขวบปีแรก การให้เด็กได้รับอาหารที่เหมาะสม มีคุณค่าทางโภชนาการที่ครบถ้วนเพียงพอ จึงเป็นการวางรากฐานชีวิตที่ดีสำหรับเด็กทั้งปัจจุบันและอนาคตการเติบโตของเด็กมีปัจจัยหลายด้าน ทั้งด้านพันธุกรรม ฮอร์โมน ภาวะโภชนาการ โรคทางกาย และสภาพแวดล้อมการเลี้ยงดูการได้รับสารอาหารที่ครบถ้วนและเพียงพอต่อความต้องการจะช่วยให้ร่างกายเด็กเจริญเติบโตได้เต็มศักยภาพ
          ดังนั้นคุณพ่อคุณแม่จึงควรให้ความสำคัญกับการเลือกโภชนาการที่เหมาะสมให้กับลูกในวัยระหว่าง 1-6 ปีหรือก่อนวัยเรียนเด็กควรได้รับอาหารมื้อหลัก มื้อที่มีคุณค่าครบ หมู่และหลากหลาย อาหารว่างไม่เกินวันละ มื้อ และอย่างลืมให้เด็กดื่มนมวันละ 2-3 แก้วต่อวัน ในอาหารของลูกอย่าขาดโอเมก้า3 และ โอเมก้า6 สารอาหาร 2 ชนิดนี้ร่างกายสร้างเองไม่ได้ต้องได้รับจากสิ่งที่ให้ลูกทานการขาดโอเมก้า3 และโอเมก้า6 ที่อยู่ในปลาและเนื้อสัตว์จะทำให้ลูกไม่เติบโต ส่วนไขมันก็เป็นสิ่งสำคัญต่อระบบสมองควรรับได้ไขมันที่เป็นไขมันดีที่มีอยู่ในปลา โดยเฉพาะปลาทะเล
          ฝึกให้เด็กรับประทานอาหารที่มีประโยชน์เพื่อร่างกายจะได้รับสารอาหารครบถ้วน และเพียงพอกับความต้องการของร่างกายในการปรุงอาหารของพ่อแม่ในแต่ละมื้อถ้าเป็นไปได้ควรให้เด็กได้เข้าร่วมและให้เขาช่วยเหลือในสิ่งที่เหมาะสมกับวัย เช่น การเตรียมผัก การหั่นผลไม้ การหยิบจับอุปกรณ์ การให้เด็กผสมเครื่องปรุง หรือเติมเครื่องปรุงลงในภาชนะปรุงอาหาร ให้เด็กได้สังเกตด้วยการใช้ประสาทสัมผัสทั้งการให้เด็กได้ดูการเปลี่ยนแปลง ได้ดมกลิ่นอาหาร ชิมรสชาติต่างๆ ซึ่งจะทำให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรงในขณะอยู่กับครอบครัว เป็นการสร้างพฤติกรรมการบริโภคที่เหมาะสมให้กับเด็กนอกจากนี้ พ่อแม่อาจให้ลูกมีโอกาสในการเลือกรายการอาหารในแต่ละมื้อ หรือให้เขามีส่วนร่วมในการเลือกซื้อกับข้าวที่จะนำมาปรุงอาหาร ทำให้เขามีความภาคภูมิใจ และมีความเชื่อมั่น นำไปสู่การสร้างพฤติกรรมที่พึงประสงค์ได้ สิ่งสำคัญที่สุดที่พ่อแม่ผู้ปกครองควรตระหนักคือ ความรู้ในเรื่องอาหารและโภชนาการ เพราะเป็นปัจจัยสำคัญที่จะทำให้ลูกมีภาวะโภชนาการที่ดีและช่วยแก้ปัญหาในด้านสุขอนามัยของเด็กได้

วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้ความรู้ผู้ปกครองในเรื่องอาหารและโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย
2.เพื่อให้เด็กได้รับประทานอาหารครบ5หมู่และมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง
3.เพื่อให้เด็กได้รับโภชนาการที่เหมาะสมตามวัย
เนื้อหา
การให้ความรู้ผู้ปกครองในเรื่องอาหารและโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย มีหัวข้อดังต่อไปนี้
  • โภชนาการสำหรับเด็กวัยก่อนเรียน
  • การฝึกบริโภคนิสัยที่ดี
  • เด็กจะกินอาหารได้ดีในเมื่อ
  • อาหารที่เหมาะสำหรับเด็กวัย 1-3 ปี
  • ปัญหาการกินและการแก้ไขของเด็กวัย 1-3 ปี


เป้าหมาย
เป้าหมายเชิงปริมาณ
ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย จำนวน 10 คน
เป้าหมายเชิงคุณภาพ
ร้อยละ 90 ของผู้ปกครองที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจและเห็นความสำคัญของโภชนาการของลูก
ร้อยละ 80 ของผู้ปกครองที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในโครงการ

วัน เวลา และสถานที่
วันอาทิตย์ที่ 20 พฤศจิกายน พ..2559  เวลา 09.00 – 12.00 . ณ ศูนย์การเรียนชุมชนจันทรเกษม  กศน.แขวงจันทรเกษม เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

รูปแบบการจัดโครงการ/เทคนิค
การอบรมเชิงปฏิบัติการ โดยใช้เทคนิคการบรรยายและการสาธิต ประกอบด้วยการเล่นเกมการศึกษาจัดหมวดหมู่พาสนุกและกิจกรรม Cooking เมนูผักชุบแป้งทอด  
วันอาทิตย์ที่ 20 พฤศจิกายน พ..2559  เวลา 09.00 – 12.00 
ณ ศูนย์การเรียนชุมชนจันทรเกษม  กศน.แขวงจันทรเกษม เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร
หลักการและเหตุผล
ตามที่รศ.นพ.สังคม จงพิพัฒน์วณิชย์  หัวหน้าหน่วยโภชนาการ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ท่านว่าโภชนาการที่เหมาะสมเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยเสริมพัฒนาการของลูกโดยเฉพาะเด็กวัยอนุบาลคือ1-6 ปี ซึ่งมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วทั้งร่างกายและสมอง โดยเฉพาะพัฒนาการทางสมองในช่วง 3 ขวบปีแรก การให้เด็กได้รับอาหารที่เหมาะสม มีคุณค่าทางโภชนาการที่ครบถ้วนเพียงพอ จึงเป็นการวางรากฐานชีวิตที่ดีสำหรับเด็กทั้งปัจจุบันและอนาคตการเติบโตของเด็กมีปัจจัยหลายด้าน ทั้งด้านพันธุกรรม ฮอร์โมน ภาวะโภชนาการ โรคทางกาย และสภาพแวดล้อมการเลี้ยงดูการได้รับสารอาหารที่ครบถ้วนและเพียงพอต่อความต้องการจะช่วยให้ร่างกายเด็กเจริญเติบโตได้เต็มศักยภาพ
          ดังนั้นคุณพ่อคุณแม่จึงควรให้ความสำคัญกับการเลือกโภชนาการที่เหมาะสมให้กับลูกในวัยระหว่าง 1-6 ปีหรือก่อนวัยเรียนเด็กควรได้รับอาหารมื้อหลัก มื้อที่มีคุณค่าครบ หมู่และหลากหลาย อาหารว่างไม่เกินวันละ มื้อ และอย่างลืมให้เด็กดื่มนมวันละ 2-3 แก้วต่อวัน ในอาหารของลูกอย่าขาดโอเมก้า3 และ โอเมก้า6 สารอาหาร 2 ชนิดนี้ร่างกายสร้างเองไม่ได้ต้องได้รับจากสิ่งที่ให้ลูกทานการขาดโอเมก้า3 และโอเมก้า6 ที่อยู่ในปลาและเนื้อสัตว์จะทำให้ลูกไม่เติบโต ส่วนไขมันก็เป็นสิ่งสำคัญต่อระบบสมองควรรับได้ไขมันที่เป็นไขมันดีที่มีอยู่ในปลา โดยเฉพาะปลาทะเล
          ฝึกให้เด็กรับประทานอาหารที่มีประโยชน์เพื่อร่างกายจะได้รับสารอาหารครบถ้วน และเพียงพอกับความต้องการของร่างกายในการปรุงอาหารของพ่อแม่ในแต่ละมื้อถ้าเป็นไปได้ควรให้เด็กได้เข้าร่วมและให้เขาช่วยเหลือในสิ่งที่เหมาะสมกับวัย เช่น การเตรียมผัก การหั่นผลไม้ การหยิบจับอุปกรณ์ การให้เด็กผสมเครื่องปรุง หรือเติมเครื่องปรุงลงในภาชนะปรุงอาหาร ให้เด็กได้สังเกตด้วยการใช้ประสาทสัมผัสทั้งการให้เด็กได้ดูการเปลี่ยนแปลง ได้ดมกลิ่นอาหาร ชิมรสชาติต่างๆ ซึ่งจะทำให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรงในขณะอยู่กับครอบครัว เป็นการสร้างพฤติกรรมการบริโภคที่เหมาะสมให้กับเด็กนอกจากนี้ พ่อแม่อาจให้ลูกมีโอกาสในการเลือกรายการอาหารในแต่ละมื้อ หรือให้เขามีส่วนร่วมในการเลือกซื้อกับข้าวที่จะนำมาปรุงอาหาร ทำให้เขามีความภาคภูมิใจ และมีความเชื่อมั่น นำไปสู่การสร้างพฤติกรรมที่พึงประสงค์ได้ สิ่งสำคัญที่สุดที่พ่อแม่ผู้ปกครองควรตระหนักคือ ความรู้ในเรื่องอาหารและโภชนาการ เพราะเป็นปัจจัยสำคัญที่จะทำให้ลูกมีภาวะโภชนาการที่ดีและช่วยแก้ปัญหาในด้านสุขอนามัยของเด็กได้

วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้ความรู้ผู้ปกครองในเรื่องอาหารและโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย
2.เพื่อให้เด็กได้รับประทานอาหารครบ5หมู่และมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง
3.เพื่อให้เด็กได้รับโภชนาการที่เหมาะสมตามวัย
เนื้อหา
การให้ความรู้ผู้ปกครองในเรื่องอาหารและโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย มีหัวข้อดังต่อไปนี้
  • โภชนาการสำหรับเด็กวัยก่อนเรียน
  • การฝึกบริโภคนิสัยที่ดี
  • เด็กจะกินอาหารได้ดีในเมื่อ
  • อาหารที่เหมาะสำหรับเด็กวัย 1-3 ปี
  • ปัญหาการกินและการแก้ไขของเด็กวัย 1-3 ปี


เป้าหมาย
เป้าหมายเชิงปริมาณ
ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย จำนวน 10 คน
เป้าหมายเชิงคุณภาพ
ร้อยละ 90 ของผู้ปกครองที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจและเห็นความสำคัญของโภชนาการของลูก
ร้อยละ 80 ของผู้ปกครองที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในโครงการ

วัน เวลา และสถานที่
วันอาทิตย์ที่ 20 พฤศจิกายน พ..2559  เวลา 09.00 – 12.00 . ณ ศูนย์การเรียนชุมชนจันทรเกษม  กศน.แขวงจันทรเกษม เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

รูปแบบการจัดโครงการ/เทคนิค
การอบรมเชิงปฏิบัติการ โดยใช้เทคนิคการบรรยายและการสาธิต ประกอบด้วยการเล่นเกมการศึกษาจัดหมวดหมู่พาสนุกและกิจกรรม Cooking เมนูผักชุบแป้งทอด  


รวมภาพกิจกรรม





การประเมินผล
ประเมินตนเอง : ทำหน้าที่ของตนเองอย่างเต็มที่ และมีส่วนร่วมในการทำโครงการ ตั้งใจที่จะให้ความรู้ผู้ปกครองอย่างแท้จริง
ประเมินเพื่อน : เพื่อนๆ ทำงานที่ตนเองได้รับมอบหมายอย่างเต็มประสิทธิภาพและมีการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน






วันเสาร์ที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2559

การบันทึกครั้งที่ 17 วันพุธที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ.2559



การบันทึกครั้งที่ 17
 วันพุธที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ.2559

เนื้อหาที่เรียน  ความรู้ที่ได้รับ

วันนี้อาจารย์นัดเรียนรวมกันทั้งสองเซคเพื่อพูดคุยเรื่องรูปเล่มโครงการ พร้อมบอกแนวข้อสอบและลิงค์บล็อค



วันศุกร์ที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

การบันทึกครั้งที่ 16 วันจันทร์ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ.2559


การบันทึกครั้งที่ 16
 วันจันทร์ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ.2559 

เนื้อหาที่เรียน  ความรู้ที่ได้รับ

ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากอาจารย์ให้แต่ละกลุ่มไปเตรียมสื่อต่าง ๆ ที่จะไปจัดโครงการ


วันพุธที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

การบันทึกครั้งที่ 15 วันจันทร์ที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ.2559


การบันทึกครั้งที่ 15
 วันจันทร์ที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ.2559 

เนื้อหาการเรียน ความรู้ที่ได้รับ
อาจารย์ให้ตัวแทนกลุ่มไปปรึกษาปัญหาเรื่องโครงการของแต่ละกลุ่มว่ามีปัญหาด้านใดบ้าง เพื่อนำไปจัดในสัปดาห์หน้า




วันศุกร์ที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

วันพฤหัสบดีที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

การบันทึกครั้งที่ 13 วันจันทร์ที่ 31 ตุลาคม พ.ศ.2559


การบันทึกครั้งที่ 13
 วันจันทร์ที่ 31 ตุลาคม พ.ศ.2559 


เนื้อหาที่เรียน  ความรู้ที่ได้รับ
กิจกรรมการเรียนการสอนวันนี้ อาจารย์ให้ตัวแทนของแต่ละกลุ่มออกมาพูดเกียวกับปัญหาที่พบเจอในการไปแจกแบบสอบถามความต้องการของผู้ปกครองเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมาว่าเจออุปสรรคอะไรกันบ้าง

กลุ่มที่ 1 

กลุ่มที่ 2

กลุ่มที่ 3 

กลุ่มที่ 4

กลุ่มที่ 5


กิจกรรมที่2
มาอาจารย์ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มรวบรวมแบบสอบถามและวิเคราะห์แบบสอบถามความต้องการของผู้ปกครอง ตั้งแต่ข้อมูลทั่วไปจนถึงข้อคำถามเพื่อเรียงลำดับความต้องการของผู้ปกครองว่าผู้ปกครองต้องการรู้เรื่องใดมากที่สุด เพื่อเป็นการตัดสินใจเลือกทำโครงการให้ความรู้ผู้ปกครองต่อไป



การประเมินผล

ประเมินตนเอง : แต่งกายถูกระเบียบ เข้าเรียนตรงเวลา มีส่วนร่วมในการนำเสนองานกลุ่ม

ประเมินเพื่อน : เพื่อนๆมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน
ประเมินอาจารย์ : เทคนิคการสอนที่น่าสนใจ สามารถอธิบายและยกตัวอย่างให้นักศึกษาได้เข้าใจมากยิ่งขึ้น

วันอาทิตย์ที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2559

การบันทึกครั้งที่ 12 วันจันทร์ที่ 24 ตุลาคม พ.ศ.2559


การบันทึกครั้งที่ 12 
วันจันทร์ที่ 24 ตุลาคม พ.ศ.2559 
ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากเป็นวันหยุดชดเชย วันปิยมหาราช
วันปิยมหาราช 23 ตุลาคม